ReadyPlanet.com
dot
dot dot
bulletหน้าหลัก
dot
ดู ... สินค้า เชลล์ ปตท. โมบิล ฟุคส์ จารบีเทรน จารบีSKF และอื่นๆ
dot
bulletสินค้า เชลล์ Shell
bulletสินค้า เชลล์ Shell Consumer สำหรับรถยนต์
bulletสินค้า โมบิล ExxonMobil
bulletสินค้า ปตท. PTT
bulletสินค้า ฟุคส์ ฟู้ดเกรด Fuchs Food Grade
bulletสินค้า เทรน Trane
bulletสินค้า จารบี SKF
bulletสินค้า น้ำมันตัดกลึงโลหะ (เชลล์ เดิม) ฮาวท์ตัน Houghton MWF
bulletสินค้า โอมาก้า OMEGA และ อื่นๆ
dot
การขอใบเสนอราคา สำหรับลูกค้าทั่วไป
dot
bulletการขอใบเสนอราคา
dot
คู่มือ...การเลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี เชลล์ Shell
dot
bulletน้ำมันไฮดรอลิค เชลล์ Shell
bulletน้ำมันเกียร์อุตสาหกรรม เชลล์ Shell
bulletน้ำมันหล่อลื่น เชลล์ Shell สำหรับเครื่องอัดอากาศ เครื่องมือลม เครื่องจักรไอน้ำ
bulletน้ำมันหล่อลื่น เชลล์ Shell สำหรับงานอุตสาหกรรมอื่นๆ
bulletจารบี เชลล์ Shell สำหรับงานอุตสาหกรรม
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์ดีเซล เชลล์ Shell
bulletจารบี เชลล์ Shell สำหรับยานยนต์
bulletน้ำมันเกียร์และเฟืองท้ายยานยนต์ เชลล์ Shell
bulletน้ำมันเกียร์อัตโนมัติและระบบส่งกำลังสำหรับยานยนต์ เชลล์ Shell
bulletน้ำมันเบรค และ ผลิตภัณฑ์อื่นๆ สำหรับยานยนต์ เชลล์ Shell
dot
สินค้าแนะนำ เชลล์ Shell
dot
bulletShell Tellus S3 M น้ำมันไฮดรอลิคที่มีอายุการใช้งานนานกว่า...
bulletShell Omala S4 WE น้ำมันเกียร์สังเคราะห์ พิเศษสุด สำหรับเกียร์ตัวหนอน ที่เน้นเรื่อง...ความลื่นเป็นพิเศษ
bulletShell Stamina EP จาระบีพิเศษ มีคุณภาพเหนือกว่า จาระบีทั่วไป
dot
คู่มือ...เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี สำหรับงานอุตสาหกรรมอาหาร ฟุคส์ ฟู้ดเกรด Fuchs Food Grade
dot
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี สำหรับงานอุตสาหกรรมอาหาร ฟุคส์ ฟู้ดเกรด Fuchs Food Grade
dot
สาระน่ารู้
dot
bulletการสำรวจและขุดเจาะ
bulletน้ำมันดิบและการกลั่น (1)
bulletน้ำมันดิบและการกลั่น (2)
bulletแรงเสียดทาน คือ อะไร
bulletเกียร์ (Gear)
bulletการสึกหรอ (Wear)
bulletการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลอย่างสม่ำเสมอในขณะใช้งาน
bulletข้อควรปฏิบัติในการป้องกัน เครื่องจักรกล ไม่ให้เกิดการเสียหาย
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletคุณสมบัติของน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์ดีเซล Diesel Engine
bulletความสำคัญของระยะเวลาเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง
bulletการพิจารณาเปลี่ยนน้ำมันใหม่
bulletการถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ
bulletน้ำมันหล่อเย็น Cutting Fluids
bulletอุปกรณ์ต่างๆในระบบ เครื่องทำความเย็น
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องอัดอากาศ Compressor
bulletน้ำมันชุบเหล็ก
bulletประเภทของงานในการชุบเหล็กด้วยน้ำมัน
bulletลักษณะการเย็นตัวของเหล็กชุบแข็งในของเหลว
bulletการเตรียมเครื่องเทอร์ไบน์ Turbine
bulletตรวจสอบน้ำมันเทอร์ไบน์ขณะใช้งาน Turbine
bulletการหล่อลื่น เครื่องมือที่ขับเคลื่อนโดย กำลังดันลม
bulletการออกแบบระบบอุปกรณ์ถ่ายเทความร้อนและการใช้งาน Heat Transfer
bulletการตรวจสภาพน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้แล้ว-การวัดค่าความเป็นกรด TAN
bulletการตรวจสภาพน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้แล้ว-จุดวาบไฟ-น้ำ-ค่าตะกอน
bulletการผสมตัว ระหว่างน้ำมันหล่อลื่นกับน้ำยาเครื่องทำความเย็น Refrigerant
bulletมาตรฐานน้ำมันเบรค
bulletจุดเดือดน้ำมันเบรคมีความสำคัญต่อประสิทธิภาพการเบรคอย่างไร?
bulletการเสื่อมสภาพของน้ำมันหล่อลื่น
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง (1)
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง (2)
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง (3)
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง (4)
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง (5)
bulletการขจัดน้ำมันหล่อลื่นที่หมดอายุใช้งาน
bulletแบริ่ง Bearings ชนิดต่างๆ
bulletปัจจัยกำหนดราคาน้ำมัน ในตลาดโลก
bulletหน้าที่และคุณสมบัติ ของ น้ำมัน หม้อแปลงไฟฟ้า และ สวิทช์เกียร์
bullet40 พฤติกรรมช่วยประหยัดน้ำมัน
bulletน้ำมันหล่อลื่นฟู้ดเกรด Food Grade Lubricants คืออะไร ?
bulletข้อควรรู้ของผลิตภัณฑ์หล่อลื่น ฟู้ดเกรด Food Grade Lubricants
bulletGMP คืออะไร (1)
bulletGMP คืออะไร (2)
bulletGMP คืออะไร (3)
bulletHACCP คืออะไร ? (1)
bulletHACCP คืออะไร ? (2)
bulletHACCP คืออะไร ? (3)
bulletน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานมีกี่ประเภท
bulletการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์หล่อลื่นให้ถูกต้อง
bulletสารเพิ่มคุณภาพ (Additive)
bulletความหนืดนั้นสำคัญไฉน
bulletความหนืดของ น้ำมัน เปลี่ยนแปลงได้อย่างไร
bulletดัชนีความหนืดคือ...
bulletจาระบีคืออะไร?
bulletการพิจารณาเลือกใช้ จาระบี
bulletข้อแนะนำในการอัด จาระบี แบริ่งลูกปืน
bulletน้ำมันหล่อลื่นเสื่อมสภาพได้อย่างไร
bulletหากดูแลเรื่องน้ำมัน ต้องรู้จักปฏิกิริยาออกซิเดชั่น
bulletการเก็บรักษา น้ำมันหล่อลื่น อย่างไรให้ถูกวิธี
bulletข้อแนะนำในการเก็บ ตัวอย่าง น้ำมันหล่อลื่น
bulletน้ำมันหล่อลื่น เครื่องเทอร์ไบน์ไอน้ำ
bulletน้ำมันไฮดรอลิค
bulletการบำรุงรักษา ระบบไฮดรอลิค
bulletน้ำมันเกียร์อุตสาหกรรมและหน้าที่ของน้ำมันเกียร์
bulletทำไมน้ำมันต่างชนิดกัน จึงผสมกันไม่ได้?
bulletน้ำมันเครื่องปลอมคืออะไร
bulletทำไมระบบเบรคจึงไม่ใช้น้ำมันไฮดรอลิค?
bulletปัญหาที่มักพบในระบบไฮดรอลิค
bulletประเภทและหน้าที่ของน้ำมันเกียร์และเฟืองท้ายยานยนต์
bulletเตรียม น้ำมันตัดกลึง ชนิดผสมน้ำ อย่างไรถึงจะถูกวิธี
bulletขบวนการเปลี่ยนสภาพ (Reforming)
bulletขบวนการแยกสลายคือ...
bulletน้ำมันดิบ มาจากไหน
bulletน้ำมันดิบ และ การกลั่น
bulletการสำรวจและขุดเจาะ
bulletการขจัดน้ำมันหล่อลื่นที่หมดอายุใช้งาน
bulletข้อควรปฏิบัติในการป้องกัน เครื่องจักรกล ไม่ให้เกิดการเสียหาย
bulletการเสื่อมสภาพของน้ำมันหล่อลื่น
bulletการพิจารณาเปลี่ยนน้ำมันใหม่
bulletตรวจสอบน้ำมันเทอร์ไบน์ขณะใช้งาน
bulletการเตรียมเครื่องเทอร์ไบน์
bulletประเภทของงานในการชุบเหล็กด้วยน้ำมัน
bulletลักษณะการเย็นตัวของเหล็กชุบแข็งในของเหลว
bulletน้ำมันชุบเหล็ก
bulletการออกแบบระบบอุปกรณ์ถ่ายเทความร้อนและการใช้งาน
bulletการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลอย่างสม่ำเสมอในขณะใช้งาน
bulletจุดเดือดน้ำมันเบรคมีความสำคัญต่อประสิทธิภาพการเบรคอย่างไร?
bulletความสำคัญของระยะเวลาเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง
bulletคอมเพรสเซอร์
bulletเครื่องยนต์ดีเซล
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletคุณสมบัติของน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletเกียร์ (Gears)
bulletแรงเสียดทาน คืออะไร
bulletจุดวาบไฟ (Flash Point) น้ำ (Water) สิ่งสกปรกที่เป็นของแข็ง (Sediment)
bulletจุดเดือดน้ำมันเบรคมีความสำคัญต่อประสิทธิภาพการเบรคอย่างไร?
bulletการสึกหรอ (Wear)
bullet40 พฤติกรรมช่วยประหยัดน้ำมัน
bulletปัจจัยกำหนดราคาน้ำมัน ในตลาดโลก
bulletการถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง
bulletทำไมจึงเจาะจงน้ำมันเครื่องสูตรสังเคราะห์
bulletน้ำมันหล่อเย็น (Cutting Fluid)


การสำรวจและขุดเจาะ

การสำรวจและขุดเจาะ

 
               ในการสำรวจหาแหล่งน้ำมันดิบในชั้นแรก นักธรณีวิทยาจะทำการสำรวจศึกษาโครงสร้างของชั้นหินบริเวณผิวโลกก่อน เพื่อดูร่องรอยของซากพืชและสัตว์ทะเลในชั้นหิน เมื่อพบร่องรอยอันบอกได้ว่าอาจจะมีแหล่งน้ำมันดิบภายใต้พื้นพิภพในบริเวณนั้นแล้วก็จะทำการศึกษาชั้นของหินต่างๆ ภายใต้พื้นพิภพ วิธีการที่ใช้อยู่ทั่วไปมี 3 วิธีคือ
 
             1. Seismic Method วิธีนี้วัดการสะม้อนกลับของคลื่นสั่นสะเทือนที่กระทำต่อผิวโลก (Shock Waves) เนื่องจากชั้นหินแต่ละชั้นมีความแข็งและความหนาแน่นไม่เท่ากัน การสะท้อนกลับของคลื่นสั่นสะเทือนจะเกิดขึ้น ณ รอยเชื่อมระหว่างชั้นหินที่ต่างชนิดกัน หากชั้นหินหนามาก เวลาที่ใช้ในการสะท้อนกลับของคลื่นก็ยิ่งนาน สำหรับบนบกการทำคลื่นสั่นสะเทือนทำได้ง่ายๆ โดยการทิ้งก้อนน้ำหนักที่หนักมากจากที่สูงลงสู่พื้นดิน สำหรับในทะเลก็มักใช้อากาศความดันสูงเป็นตัวสร้างคลื่นสั่นสะเทือน คลื่นสะท้อนกลับถูกรับไว้โดยตัว Geophone ซึ่งจะถ่ายทอดสัญญาณผ่านเครื่องขยายสัญญาณแล้วเข้าสู่เครื่องบันทึกกราฟ จากกราฟนักธรณีวิทยาสามารถวิเคราะห์ลักษณะโครงสร้างและส่วนประกอบของชั้นหินภายใต้พิภพได้
             2. Gravity Method เนื่องจากโครงสร้างและส่วนประกอบของชั้นหินภายใต้พิภพมีผลต่อสนามแรงดึงดูดของโลกด้วย ดังนั้นเมื่อใช้เครื่อง Gravimater วัดค่าแรงดึงดูดของโลกได้แล้วนำมาหักค่าเบี่ยงเบนอันเกิดจากอิทธิพลจากตำแหน่ง (Latitude) และความสูง (Elevator) ออก ก็จะได้ค่าแรงดึงดูดของโลกซึ่งจะเปลี่ยนแปลงตามโครงสร้างและส่วนประกอบของชั้นหินภายใต้พิภพ นักธรณีวิทยาก็สามารถนำมาใช้วิเคราะห์เพื่อศึกษาโครงสร้าง ส่วนประกอบของชั้นหินภายใต้พื้นพิภพได้
             3. Magnetic Method โครงสร้างและส่วนประกอบของชั้นหินภายใต้พิภพก็มีผลความเบี่ยงเบนของสนามแม่เหล็กโลกที่วัดโดยใช้ Magnetometer มาหักลบเอาความเบี่ยงเบนอันเกิดจากตำแหน่งบนโลก (Latitude and Longtitude) ออกแล้วค่าที่เหลือก็เป็นค่าความเบี่ยงเบนอันเกิดจากอิทธิพลของโครงสร้างและส่วนประกอบของชั้นหินได้ เมื่อได้ศึกษาโครงสร้างและส่วนประกอบของชั้นหินแวนักธรณีวิทยาก็พอที่จะบอกคร่าวๆได้ว่าบริเวณนั้นๆ น่าจะมีแหล่งน้ำมันอยู่หรือไม่
 
             หากจะเทียบการสำรวจหาแหล่งน้ำมันกับการตรวจวิเคราะห์โรคในทางการแพทย์แล้ว วิธีสำรวจโดย Gravity และ Magnetic Method นี้เปรียบเสมือนการซักถามอาการจากคนไข้ แล้วพยายามวิเคราะห์โรคจากข้อมูลที่ได้ ส่วนวิธีสำรวจโดย Seismic Method ก็เปรียบเสมือนการถ่ายภาพเอ็กซเรย์คนไข้ อย่างไรก็ตามคำตอบที่แน่นอนก็คงต้องได้มาจากการขุดเจาะสำรวจ
 
             ในการขุดเจาะสำรวจหลุมแรกนักธรณีวิทยาและวิศวกรน้ำมันจะเลือกบริเวณซึ่งคิดว่าเป็นใจกลางของบ่อน้ำมันใต้พื้นพิภพ ในระหว่างการขุดเจาะจะมีการนำเอาโคลนเหลวจากหลุมเจาะมาศึกษาวิเคราะห์ดูร่องรอยของน้ำมัน
 
             มีบ่อยครั้งที่จะต้องนำหัวเจาะซึ่งสึกกร่อนมากแล้วขึ้นมาเปลี่ยนเอาอันใหม่แทนทำการขุดเจาะจนกระทั่งได้ความลึกถึงระดับบ่อน้ำมันก็นำหินตัวอย่างขึ้นมาโดยใช้เครื่องมือพิเศษ หากพบน้ำมันดิบแทรกอยู่ในเนื้อหินก็นับว่าน่าตื่นเต็น เมื่อเจาะพบแหล่งน้ำมันแล้วก็จะทำการขุดเจาะหลุมอื่นๆ ในบริเวณข้างเคียงกับหลุมแรกเพื่อสำรวจดูปริมาณของน้ำมันดินในบ่อว่ามีมากพอที่จะคุ้มในการลงทุนตั้งแท่นสูบน้ำมันดิบขึ้นมาใช้งานหรือไม่
 
 
 
 
 






Copyright © 2010 All Rights Reserved.

บริษัท สยาม โกลบอล ลูบริแคนท์ จำกัด

สำนักงาน: 105/400-401 หมู่4 ถนนราชพฤกษ์ ตำบลบางกร่าง อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000

โทร : 098-9192463 ,089-6612991 ,02-4032562-3 แฟกซ์ : 02-4032564