ReadyPlanet.com
dot
dot dot
bulletหน้าหลัก
dot
ดู ... สินค้า เชลล์ ปตท. โมบิล ฟุคส์ จารบีเทรน จารบีSKF และอื่นๆ
dot
bulletสินค้า เชลล์ Shell
bulletสินค้า เชลล์ Shell Consumer สำหรับรถยนต์
bulletสินค้า โมบิล ExxonMobil
bulletสินค้า ปตท. PTT
bulletสินค้า ฟุคส์ ฟู้ดเกรด Fuchs Food Grade
bulletสินค้า เทรน Trane
bulletสินค้า จารบี SKF
bulletสินค้า น้ำมันตัดกลึงโลหะ (เชลล์ เดิม) ฮาวท์ตัน Houghton MWF
bulletสินค้า โอมาก้า OMEGA และ อื่นๆ
dot
การขอใบเสนอราคา สำหรับลูกค้าทั่วไป
dot
bulletการขอใบเสนอราคา
dot
คู่มือ...การเลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี เชลล์ Shell
dot
bulletน้ำมันไฮดรอลิค เชลล์ Shell
bulletน้ำมันเกียร์อุตสาหกรรม เชลล์ Shell
bulletน้ำมันหล่อลื่น เชลล์ Shell สำหรับเครื่องอัดอากาศ เครื่องมือลม เครื่องจักรไอน้ำ
bulletน้ำมันหล่อลื่น เชลล์ Shell สำหรับงานอุตสาหกรรมอื่นๆ
bulletจารบี เชลล์ Shell สำหรับงานอุตสาหกรรม
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์ดีเซล เชลล์ Shell
bulletจารบี เชลล์ Shell สำหรับยานยนต์
bulletน้ำมันเกียร์และเฟืองท้ายยานยนต์ เชลล์ Shell
bulletน้ำมันเกียร์อัตโนมัติและระบบส่งกำลังสำหรับยานยนต์ เชลล์ Shell
bulletน้ำมันเบรค และ ผลิตภัณฑ์อื่นๆ สำหรับยานยนต์ เชลล์ Shell
dot
สินค้าแนะนำ เชลล์ Shell
dot
bulletShell Tellus S3 M น้ำมันไฮดรอลิคที่มีอายุการใช้งานนานกว่า...
bulletShell Omala S4 WE น้ำมันเกียร์สังเคราะห์ พิเศษสุด สำหรับเกียร์ตัวหนอน ที่เน้นเรื่อง...ความลื่นเป็นพิเศษ
bulletShell Stamina EP จาระบีพิเศษ มีคุณภาพเหนือกว่า จาระบีทั่วไป
dot
คู่มือ...เลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี สำหรับงานอุตสาหกรรมอาหาร ฟุคส์ ฟู้ดเกรด Fuchs Food Grade
dot
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี สำหรับงานอุตสาหกรรมอาหาร ฟุคส์ ฟู้ดเกรด Fuchs Food Grade
dot
สาระน่ารู้
dot
bulletการสำรวจและขุดเจาะ
bulletน้ำมันดิบและการกลั่น (1)
bulletน้ำมันดิบและการกลั่น (2)
bulletแรงเสียดทาน คือ อะไร
bulletเกียร์ (Gear)
bulletการสึกหรอ (Wear)
bulletการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลอย่างสม่ำเสมอในขณะใช้งาน
bulletข้อควรปฏิบัติในการป้องกัน เครื่องจักรกล ไม่ให้เกิดการเสียหาย
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletคุณสมบัติของน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์ดีเซล Diesel Engine
bulletความสำคัญของระยะเวลาเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง
bulletการพิจารณาเปลี่ยนน้ำมันใหม่
bulletการถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ
bulletน้ำมันหล่อเย็น Cutting Fluids
bulletอุปกรณ์ต่างๆในระบบ เครื่องทำความเย็น
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องอัดอากาศ Compressor
bulletน้ำมันชุบเหล็ก
bulletประเภทของงานในการชุบเหล็กด้วยน้ำมัน
bulletลักษณะการเย็นตัวของเหล็กชุบแข็งในของเหลว
bulletการเตรียมเครื่องเทอร์ไบน์ Turbine
bulletตรวจสอบน้ำมันเทอร์ไบน์ขณะใช้งาน Turbine
bulletการหล่อลื่น เครื่องมือที่ขับเคลื่อนโดย กำลังดันลม
bulletการออกแบบระบบอุปกรณ์ถ่ายเทความร้อนและการใช้งาน Heat Transfer
bulletการตรวจสภาพน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้แล้ว-การวัดค่าความเป็นกรด TAN
bulletการตรวจสภาพน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้แล้ว-จุดวาบไฟ-น้ำ-ค่าตะกอน
bulletการผสมตัว ระหว่างน้ำมันหล่อลื่นกับน้ำยาเครื่องทำความเย็น Refrigerant
bulletมาตรฐานน้ำมันเบรค
bulletจุดเดือดน้ำมันเบรคมีความสำคัญต่อประสิทธิภาพการเบรคอย่างไร?
bulletการเสื่อมสภาพของน้ำมันหล่อลื่น
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง (1)
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง (2)
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง (3)
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง (4)
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง (5)
bulletการขจัดน้ำมันหล่อลื่นที่หมดอายุใช้งาน
bulletแบริ่ง Bearings ชนิดต่างๆ
bulletปัจจัยกำหนดราคาน้ำมัน ในตลาดโลก
bulletหน้าที่และคุณสมบัติ ของ น้ำมัน หม้อแปลงไฟฟ้า และ สวิทช์เกียร์
bullet40 พฤติกรรมช่วยประหยัดน้ำมัน
bulletน้ำมันหล่อลื่นฟู้ดเกรด Food Grade Lubricants คืออะไร ?
bulletข้อควรรู้ของผลิตภัณฑ์หล่อลื่น ฟู้ดเกรด Food Grade Lubricants
bulletGMP คืออะไร (1)
bulletGMP คืออะไร (2)
bulletGMP คืออะไร (3)
bulletHACCP คืออะไร ? (1)
bulletHACCP คืออะไร ? (2)
bulletHACCP คืออะไร ? (3)
bulletน้ำมันหล่อลื่นพื้นฐานมีกี่ประเภท
bulletการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์หล่อลื่นให้ถูกต้อง
bulletสารเพิ่มคุณภาพ (Additive)
bulletความหนืดนั้นสำคัญไฉน
bulletความหนืดของ น้ำมัน เปลี่ยนแปลงได้อย่างไร
bulletดัชนีความหนืดคือ...
bulletจาระบีคืออะไร?
bulletการพิจารณาเลือกใช้ จาระบี
bulletข้อแนะนำในการอัด จาระบี แบริ่งลูกปืน
bulletน้ำมันหล่อลื่นเสื่อมสภาพได้อย่างไร
bulletหากดูแลเรื่องน้ำมัน ต้องรู้จักปฏิกิริยาออกซิเดชั่น
bulletการเก็บรักษา น้ำมันหล่อลื่น อย่างไรให้ถูกวิธี
bulletข้อแนะนำในการเก็บ ตัวอย่าง น้ำมันหล่อลื่น
bulletน้ำมันหล่อลื่น เครื่องเทอร์ไบน์ไอน้ำ
bulletน้ำมันไฮดรอลิค
bulletการบำรุงรักษา ระบบไฮดรอลิค
bulletน้ำมันเกียร์อุตสาหกรรมและหน้าที่ของน้ำมันเกียร์
bulletทำไมน้ำมันต่างชนิดกัน จึงผสมกันไม่ได้?
bulletน้ำมันเครื่องปลอมคืออะไร
bulletทำไมระบบเบรคจึงไม่ใช้น้ำมันไฮดรอลิค?
bulletปัญหาที่มักพบในระบบไฮดรอลิค
bulletประเภทและหน้าที่ของน้ำมันเกียร์และเฟืองท้ายยานยนต์
bulletเตรียม น้ำมันตัดกลึง ชนิดผสมน้ำ อย่างไรถึงจะถูกวิธี
bulletขบวนการเปลี่ยนสภาพ (Reforming)
bulletขบวนการแยกสลายคือ...
bulletน้ำมันดิบ มาจากไหน
bulletน้ำมันดิบ และ การกลั่น
bulletการสำรวจและขุดเจาะ
bulletการขจัดน้ำมันหล่อลื่นที่หมดอายุใช้งาน
bulletข้อควรปฏิบัติในการป้องกัน เครื่องจักรกล ไม่ให้เกิดการเสียหาย
bulletการเสื่อมสภาพของน้ำมันหล่อลื่น
bulletการพิจารณาเปลี่ยนน้ำมันใหม่
bulletตรวจสอบน้ำมันเทอร์ไบน์ขณะใช้งาน
bulletการเตรียมเครื่องเทอร์ไบน์
bulletประเภทของงานในการชุบเหล็กด้วยน้ำมัน
bulletลักษณะการเย็นตัวของเหล็กชุบแข็งในของเหลว
bulletน้ำมันชุบเหล็ก
bulletการออกแบบระบบอุปกรณ์ถ่ายเทความร้อนและการใช้งาน
bulletการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลอย่างสม่ำเสมอในขณะใช้งาน
bulletจุดเดือดน้ำมันเบรคมีความสำคัญต่อประสิทธิภาพการเบรคอย่างไร?
bulletความสำคัญของระยะเวลาเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่อง
bulletคอมเพรสเซอร์
bulletเครื่องยนต์ดีเซล
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletคุณสมบัติของน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletเกียร์ (Gears)
bulletแรงเสียดทาน คืออะไร
bulletจุดวาบไฟ (Flash Point) น้ำ (Water) สิ่งสกปรกที่เป็นของแข็ง (Sediment)
bulletจุดเดือดน้ำมันเบรคมีความสำคัญต่อประสิทธิภาพการเบรคอย่างไร?
bulletการสึกหรอ (Wear)
bullet40 พฤติกรรมช่วยประหยัดน้ำมัน
bulletปัจจัยกำหนดราคาน้ำมัน ในตลาดโลก
bulletการถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง
bulletทำไมจึงเจาะจงน้ำมันเครื่องสูตรสังเคราะห์
bulletน้ำมันหล่อเย็น (Cutting Fluid)


การถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ

 

การถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ

 

ปัจจุบันเห็นมีการโฆษณากันมาก เรื่องเครื่องเปลี่ยนถ่ายน้ำมัน เกียร์อัตโนมัติ บอกว่าดีกว่าการเปลี่ยนถ่าย ในศูนย์บริการทั่วไป เพราะถ่ายได้หมดจดกว่ากัน แต่ราคามันแพง จึงอยากถามถึงความจำเป็น ในการถ่ายน้ำมัน เกียร์อัตโนมัติ และหากจำเป็นควรใช้วิธีไหน 


              เรื่องการเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัตินั้น ผมขอเรียนให้ทราบก่อนว่า ระยะเวลาที่สมควร ทำการเปลี่ยนถ่าย แต่ละครั้ง ก็คือ ประมาณ 25,000 ถึง 35,000 กิโลเมตรแล้วแต่สภาพการใช้งาน และสภาพทางที่วิ่ง เช่นใช้งานในเมือง ที่การจราจรติดขัดมากๆ เกียร์มีการเปลี่ยนไปมาบ่อยๆ และมีความร้อนในน้ำมันเกียร์มาก ก็ควรเปลี่ยนถ่ายที่ระยะทาง 25,000 กิโลเมตร หรือหากต้องวิ่งผ่านทางที่เป็นฝุ่นมากๆ หรือผ่านทางที่น้ำท่วมขัง ก็ควรเปลี่ยนถ่ายที่ระยะทางไม่เกิน 25,000 กิโลเมตร 

 

      เช่นเดียวกัน แต่หากผ่านทางที่น้ำท่วมขังเกินกว่าครึ่งล้อ ก็ควรเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติทันที ที่ผ่านทาง น้ำท่วมนั้นมาแล้ว แต่หากคุณใช้รถยนต์เกียร์อัตโนมัติ ในพื้นที่ซึ่งรถไม่ติด การจราจรปลอดโปร่ง เช่น ใช้ในจังหวัด ที่มีอากาศเย็น อย่างลำพูน หรือแพร่ คุณก็สามารถยืดระยะการเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติไปได้ถึง 35,000 กิโลเมตร แต่ทั้งนี้และทั้งนั้นหากคุณเป็นคนใช้รถยนต์น้อย ผมแนะนำว่าไม่ควรเกินสองปี ก็ควรเปลี่ยนน้ำมัน เกียร์อัตโนมัติ แล้วครับ การเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัตินั้น ต้องให้ช่าง ตามศูนย์บริการรถยนต์นั้นๆ หรือช่าง ในศูนย์เปลี่ยนถ่าย น้ำมันเครื่อง ที่มีความรู้เรื่อง เกียร์อัตโนมัติเป็นผู้ทำการให้ โดยปกติแล้วเมื่อถอดนอตที่ก้นแคร้ง เพื่อทำการเปลี่ยนถ่าย น้ำมันเกียร์อัตโนมัติออกมา น้ำมันเกียร์อัตโนมัติจะไหลออกมา ประมาณครึ่งหนึ่ง หรือไม่เกินสองในสาม ของน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ ทั้งหมดในระบบ 


              ดังนั้นหากเห็นว่าน้ำมันเก่าที่ไหลออกมา มีความสกปรกปะปนอยู่มาก ก็ให้นำรถไปวิ่งใช้งานสักพักหนึ่ง แล้วนำรถไปเปลี่ยน ถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติอีกครั้งหนึ่ง ในขณะที่น้ำมันเกียร์ยังอุ่นๆ อยู่ และหากรถยนต์รุ่นนั้นๆ มีกรองน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ แบบที่สามารถถอดออกมาทำความสะอาดได้ ก็ให้ถอดกรองออกมาล้าง ทำความสะอาด ด้วยทุกครั้ง หรือถ้าเป็นแบบ ล้างไม่ได้ ก็ต้องเปลี่ยนกรองทุกครั้ง ในคนที่มีความรู้เรื่องเครื่องยนต์อยู่บ้าง สามารถเปลี่ยน ถ่ายน้ำมันเกียร์ อัตโนมัติ ด้วยตนเอง ให้สะอาดหมดจดได้ไม่ยากนัก ด้วยวิธีการที่ผมจะแนะนำต่อไปนี้คือ หาตำแหน่ง ที่ติดตั้ง ระบบระบายความร้อน น้ำมันเกียร์อัตโนมัติ หรือที่เรียกกันว่า ออยล์คูลเลอร์เกียร์อัตโนมัติ 


              จากนั้นก็ดูว่าสายยางเส้นไหน เป็นเส้นที่ส่งน้ำมันเข้าออยล์คูลเลอร์ เส้นไหนเป็นเส้นที่ส่งน้ำมันออกจาก ออยล์คูลเลอร์ เมื่อพบแล้วให้ถอดสายยาง ส่วนที่ออกจากออยล์คูลเลอร์ของน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ แล้วติดเครื่องยนต์ขึ้นมา ไม่ต้องเร่งเครื่อง คอยดูว่าน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ ไหลออกมาจากสายยางดังกล่าว จนหมดเริ่มเห็นฟองอากาศ ก็ให้ดับ เครื่องยนต์แล้ว สวมสายยางกลับไป อย่างเดิมให้แน่นหนา จากนั้นก็เติมน้ำมันเกียร์อัตโนมัติเข้าไปตามปริมาณ หากเห็นว่า น้ำมันเกียร์ อัตโนมัติ ไม่ค่อยไหลออกมา ให้ดึงเบรกมือรถเอาไว้ให้แน่น เหยียบเบรกให้สนิท แล้วโยกคันเกียร์ไปมา ระหว่างตำแหน่ง N ไป D สลับไปมาเบาๆ จนเห็นน้ำมันเกียร์ไหลออกมาหมด เมื่อเติมน้ำมันเกียร์อัตโนมัติเข้าไปแล้ว ให้นำรถออกไปวิ่งใกล้ๆ อย่างนุ่มนวล แล้วกลับมาวัดระดับน้ำมันเกียร์อัตโนมัติใหม่ อีกครั้งหนึ่ง หากเห็นว่าระดับน้ำมัน เกียร์ต่ำกว่า ระดับมาตรฐาน ก็เติมลงไปให้ถูกต้อง เท่านี้ก็เสร็จเรื่องครับ

 

Download

 

 

 

 

Siam Global Lubricant Co.,Ltd.

13,15 ซอยเจริญกรุง 3 ถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์ : 0-2622-1700-3 โทรสาร : 0-2622-1704

E-mail : sales@sgl1.com  facebook : https://www.facebook.com/SiamGlobalLubricant

เวลาทำการ : วันจันทร์-เสาร์ 8.30-17.30น.หยุดวันอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์

นอกเวลาทำการ : ติดต่อสายด่วน 089-6612991







Copyright © 2010 All Rights Reserved.

บริษัท สยาม โกลบอล ลูบริแคนท์ จำกัด

สำนักงาน: 105/400-401 หมู่4 ถนนราชพฤกษ์ ตำบลบางกร่าง อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000

โทร : 098-9192463 ,089-6612991 ,02-4032562-3 แฟกซ์ : 02-4032564